Page 103 - ThammaThuanKrasae
P. 103

ฌานและนิวรณ์
                    ค าว่า เพราะละสุข ละทุกข์ และดับโสมนัส โทมนัสในก่อนได้

            หมายถึงให้ละความสุขที่เกิดจากปีติและสุขเวทนาที่ปรุงแต่ง ความสุข

            ทางกาย และความทุกข์ทางกาย และให้ดับความสุขทางใจ และความ

            ทุกข์ทางใจ ที่เกิดจากจิตตสังขาร  คือสัญญา และเวทนาที่ปรุงแต่ง

            เจตสิกธรรมเหล่านี้เนื่องด้วยจิต



                    ค าว่า มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์  คือต้องก าหนดวาง

            อุเบกขาเวทนาระงับดับให้เจตสิกสัญญาที่ท าหน้าที่ส าคัญมั่นหมาย และ

            เวทนาที่มีความรู้สึกเป็นตัวเราให้สงบระงับลง


                    เคล็ดอุบาย (วิธี) ปฏิบัติให้เกิดอุเบกขาเวทนาและเอกัคคตา

                    ผู้ที่ปฏิบัติจะต้องก าหนดผรณาปีติให้เกิดขึ้น ตั้งอยู่อย่างเต็มเปี่ยม

            และก็คอยก าหนดอารมณ์สุขเวทนา เมื่อกระแสปีติที่จางสิ้นไปด้วยการ

            เสวยอารมณ์ ของสุขเวทนาที่ก าหนดอุเบกขาวางเฉย ท าให้จิตมีอารมณ์

            เดียว เป็นจิตที่ไม่ฟุ้งซ่าน ก็จะได้สุขเวทนาเป็นอารมณ์ (สุขในรูปฌาน ๓)

            ผู้ปฏิบัติก็วางอุเบกขาเวทนาให้ลึกลงไปให้จิตสังขารระงับการปรุงแต่ง

            คือสัญญา และเวทนาที่ปรุงแต่งโสมนัส (ความสุขส าราญทางใจ) และ

            ความโทมนัส (ความทุกข์ทางใจ) ด้วยการหยุดความนึกคิดที่เกิดร่วมกับ

            สัญญาและเวทนา ด้วยความรู้สึกที่วางเฉยกับกองลมปราณในเครื่อง

            บังคับช่อง  คือไม่นึกคิดอะไรทั้งนั้น ก าหนดแต่ความรู้สึกที่วางเฉยอยู่

            อย่างเดียว  คืออุเบกขาเวทนา เมื่ออุเบกขาเวทนาเกิดขึ้นแล้ว กฎเป็น







                                                                            ๗๙
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108