Page 100 - ThammaThuanKrasae
P. 100
ฌานและนิวรณ์
ค าว่า บรรลุตติยฌาน ฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลายสรรเสริญ
หมายความว่าต่อไปจะน าไปสัมปยุตกับผรณาปีติ ท าให้เกิด “ความ
ปราโมทย์ยิ่ง”
ค าว่า สุขอันปราศจากปีติ หมายถึง การเสวยของสุขที่ปีติจางสิ้น
ไป
ค าว่า เหมือนดอกบัวที่เกิดในน้ ายังไม่พ้นน้ า จมอยู่ในน้ ามีน้ า
เลี้ยงไว้ เอิบอาบ ซึมซาบไปแต่ยอดและเหง้า หมายถึงการเสวยของสุข
เวทนาเหมือนยอดของดอกบัวและรากเหง้าจะเอิบอาบซึมซาบไปทั่วทั้ง
ร่างกายและใจ
สุขเวทนา ความสุขทางจิต และความสุขทางกายจะสัมผัสถูกต้อง
ทั่วจิตใจ และร่างกาย
เคล็ดอุบาย (วิธี) ปฏิบัติให้เกิดสุขและเอกัคคตา
ผู้ปฏิบัติจะต้องก าหนดให้เกิด “ผรณาปีติ” จากเคล็ดวิธีปฏิบัติ
ก าหนดตั้ง “ขณิกาปีติ” ไว้ที่ฐานลมที่ ๕ ซึ่งเป็นที่ตั้งของธาตุน้ าใน
ร่างกายดูวิธีก าหนดจาก “เคล็ดวิธีท าให้เกิดผรณาปีติ”
“เมื่อก าหนดผรณาปีติ ผรณาปีติให้เกิดขึ้น ตั้งอยู่อย่างเต็มเปี่ยม
แล้ว” ก็หยุดก าหนดหายใจเข้าออก ใช้สติจากเครื่องเห็นคอยดูกระแสจิต
ของปีติที่จางสิ้นไปด้วยการวางเฉย (อุเบกขา) ท าให้จิตมีอารมณ์เดียว จิต
๗๖