Page 101 - ThammaThuanKrasae
P. 101

ฌานและนิวรณ์
            ไม่ฟุ้งซ่าน เพราะถูกควบคุมด้วยกองลมปราณเกี่ยวกับการวางคาบลมให้

            สงบนิ่ง สุขก็จะปรากฏ  เมื่อสุขปรากฏแล้ว จิตก็จะเสวยอารมณ์สุข

            เวทนาด้วยการใช้สติระลึกอยู่กับอารมณ์ ส่วนสัมปชัญญะก็จะท า

            ความรู้สึกเป็น “เวทนา” อยู่กับการวางคาบลมให้สงบระงับด้วยกอง

            ลมปราณ ช่วยกันรักษาอารมณ์สุขเวทนามิให้ดับไป



                    สุขเหล่านั้นย่อมปรากฏ เมื่อรู้ความที่จิตมีอารมณ์เดียว และไม่

            ฟุ้งซ่านคือกายิกสุขและเจตสิกสุข


                    การเสวยทาง “กายิกสุข” เป็นความส าราญทางกาย เป็นความ

            ส าราญที่เกิดจากการสัมผัสนี้เป็น “กายิกสุข”  คือท าให้กายน้ าชุ่มชื้น

            เอิบอาบซาบซ่านเย็นสบายทั่วกาย



                    ส่วนการเสวยทาง “เจตสิกสุข” เป็นความส าราญทางใจที่เกิด

            จากเจโตสัมผัสนี้เป็นสุขเวทนา  ซึ่งเป็นความส าราญ เกิดจากเจโตสัมผัส

            (กระแสสัมปชัญญะที่ไปสัมผัสจิต) นี้เป็นเจตสิกสุข


                    “เหมือนกอดอกบัวที่เกิดในน้ า เจริญในน้ า ยังไม่พ้นน้ า จมอยู่ใน

            น้ า น้ าเลี้ยงไว้อันน้ าเย็นหล่อเลี้ยง เอิบอาบ ซึมซาบไปแต่ยอดและ

            รากเหง้า ไม่มีเอกเทศไหนๆ  แห่งกอดอกบัวที่น้ าเย็น หมายถึง

            ความสุขที่เกิดขึ้นจากเจโตสัมผัสจะไม่ถูกต้อง”










                                                                            ๗๗
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106