Page 29 - ThammaThuanKrasae
P. 29

พระเกจิอาจารย์คือใคร

            (กรอบยันต์) แบบสามเหลี่ยม แบบสี่เหลี่ยม ยันต์กลม ก็จะมีคาถาภาวนา

            ก ากับลงไปด้วย    เช่น      กรอบยันต์แบบสามเหลี่ยม        ก็ภาวนาว่า

            ติยันต์ตังสันตัง     วิกรึงคะเร        ถ้าลงกระดูกยัน   ก็จะภาวนาว่า

            อัฏฐิยันต์ตังสันตัง     วิกรึงคะเร       ถ้าจะต่อเส้นยันต์   ก็จะภาวนาว่า

            สนธิยันต์ตัง  สันตัง   วิกรึงคะเร  ถ้าจะขมวดมุมยันต์  ลงอักษร  ลงเลข

            เวลาเสร็จแล้วต้องกรึงเพื่อให้อยู่ยงคงถาวร เพราะมีคติที่ถือว่าอักษร

            หรือเลขถ้าลงแล้วไม่กรึงอาจจะหนีหายไป  (คือเสื่อมไป)  การสอนในขั้น

            นี้ผู้ที่ปฏิบัติก็จะได้เห็นปัญญาที่แอบแฝงอยู่ในการกระท าคือ  การท างาน

            ทั้งร่างกายและทางจิตใจที่เรียกว่า



                            “ตาจ้อง  มือจับ  ปากขยับว่ามนตรา”


                    เป็นการปฏิบัติด้วยการใช้ปัญญา (สติ) การใช้ความรู้สึกจากมือ

            เวทนา (สัมปชัญญะ) ส่วนใจก็ท าหน้าที่บริกรรมเรียกสูตรเป็นการใช้

            อ านาจจิตในการท างาน หรือที่เรียกว่ามีสมาธิในการท างาน  เป็นสมาธิ

            ตามธรรมชาติอันเป็นเบื้องต้น ที่จะน าไปสู่สมาธิในการภาวนา  ส่วนการ

            ลงแม่ธาตุใหญ่ที่เรียกว่า นะโมพุทธายะ หรือแร่ธาตุทั้งสี่ (นะ มะ พะ ทะ)

            ธาตุพระกรณีย์ (จะ ภะ กะ สะ)  ธาตุแก้วสี่ดวง (นะ  มะ  อะ  อุ)



                    นอกจากการลงเลขยันต์ ลงอักขระและลงเลขแล้วก็ยังมีการลง

            องค์พระ  ลงจันทร์  ลงสูรย์  อาทิตย์   การลงอุณาโลม    เป็นการลงใน

            ขั้นสุดท้าย  เมื่อลงเสร็จแล้วก็ต้องมีการปลุกเสกทุกยันต์  บางยันต์ก็วาง





                                                                            ๕
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34